• Welcome to ลงประกาศฟรี โพสฟรี โปรโมทเว็บไซด์ให้ติดอันดับ SEO ด้วย PBN.
 

poker online

ปูนปั้น

สิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับการใช้งาน “ชุดตรวจโควิด” อย่างเจาะลึก

Started by damonshoppu, October 15, 2023, 10:11:43 AM

Previous topic - Next topic

damonshoppu

เรื่องของการตรวจโควิด 19 ก็ยังคงมีอยู่ต่อเนื่อง และการเลือกใช้งานชุดตรวจโควิดมาตรวจเองก็เป็นอีกวิธีที่ใคร ๆ ก็ทำกัน กระนั้นหากใครต้องการใช้งานควรมีการศึกษาสิ่งที่ต้องรู้ด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับการใช้งานอย่างเจาะลึกด้วย เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพต่อตัวเองมากที่สุด แต่จะมีสิ่งไหนที่ต้องรู้บ้าง เราไปติดตามกันได้เลย



5 สิ่งที่ต้องรู้เมื่อมีการใช้งานชุดตรวจโควิด

1. ชุดตรวจที่ได้มาตรฐาน อย. ประกอบไปด้วย..

สิ่งที่มีประกอบไปด้วยกับมาตรฐาน อย. ที่มีของชุดตรวจ ก็จะแบ่งออกเป็นอุปกรณ์ตรวจเชื้อที่เป็นเครื่องการอ่านค่าผลการตรวจมีการบอกค่ากับหลุมที่ใช้หยดไป 1ก้านสำหรับ Swob ที่จะเป็นก้านยาว ๆ เรียว ๆ และมีปุ่มเก็บสารคัดหลั่งที่ปลาย หลอดสารสกัด ที่จะเป็นโปรตีนไวรัสมีน้ำยาภายในหลอดให้เราไว้ตรวจ และฝาหลอดหยดน้ำยาที่จะมีหลอดสารสกัดประกอบได้พอดี

2. การอ่านค่าผลชุดตรวจ Covid – 19

ต้องอธิบายสร้างความเข้าใจไว้ก่อนเลยว่าการตรวจหาเชื้อ Covid – 19 นั้นหากไม่ได้พบเชื้อก็จะขึ้นผลเป็น – หรือ Negative แต่หากมีการพบเชื้อก็จะขึ้นผลเป็น + หรือ Positive โดยที่การแสดงเครื่องหมายจะมีอยู่  ตัวบนที่ตรวจโควิดที่เราพบเห็นได้ทั่วไป คือตัว C และตัว T ที่ออกผลค่าได้คือ

- ขึ้นขีดสีแดงที่ C หมายความว่าเป็นผลลบ ไม่ติดเชื้อ
- ขึ้นขีดสีแดง  ขีดที่ทั้ง C และ T หมายความว่าเป็นผลบวก ติดเชื้อโควิด – 19
- ทั้งนี้ หากมีขีดแดงนอกเหนือจากที่เราแนะนำไปทั้งหมด เช่น 1 ขีดที่ T หรือไม่ขึ้นขีดอะไรเลย หมายความว่าผลการตรวจนั้น ๆ ผิดพลาด

3. เมื่อได้ผลตรวจมาแล้วควรทำอย่างไร?

เมื่อเราได้ผลตรวจจากชุดตรวจ ATK มาแล้วบางคนอาจจะยังไม่รู้ว่าจะทำยังไงต่อไปทำตัวไม่ถูก เราก็มีข้อมูลที่น่าสนใจมาแนะนำคือ

- หากผลเป็นลบ หรือไม่พบเชื้อ เท่ากับว่ายังไม่ได้ติดเชื้อโควิด – 19 ให้สวมมาสก์ ล้างมือบ่อย ๆ หรือหากมีความเสี่ยงแล้วตรวจไม่พบเชื้อให้รอ 2 – 3 วันแล้วค่อยตรวจซ้ำอีกครั้ง
- หากผลเป็นบวก หรือพบเชื้อ ให้คุณกักตัวในทันที และรีบรักษาตามอาการได้เลย  หรือจะไปตรวจซ้ำที่โรงพยาบาลเพื่อความแม่นยำก็ได้เช่นกัน

สำหรับชุดตรวจโควิดแบบตรวจเอง หรือ ATK นั้นเป็นการตรวจโควิด – 19 แบบเบื้องต้นที่ความแม่นยำอาจจะไม่ได้เทียบเท่ากับการตรวจแบบ RT – PCR หรือ SWAP ที่หลังโพรงจมูก แนะนำว่าหากมีการตรวจพบ 2 ขีดให้ตรวจแบบ RT – PCR อีกครั้ง ทั้งนี้ การตรวจด้วย ATK จะพบเชื้อเมื่อผู้ป่วยรับเชื้อมานานมากกว่า 5 วัน และหากเพิ่งรับมา 1 – 4 วันจะยังขึ้นไม่พบเชื้อ